วันอังคารที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2555

วัดแก้วมงคล ปัญหาธรรมศึกษา

.  สมถกัมมัฏฐาน ตรงกับข้อใด ?
                ก. อุบายสงบกาย ข. อุบายสงบวาจา
                ค. อุบายสงบใจ    ง. อุบายเรืองปัญญา
๒.  ผู้หมั่นเจริญกัมมัฏฐาน ย่อมได้รับประโยชน์โดยตรงด้านใด
                . จิตใจสงบ                         . มีสุขภาพดี
                . ความจำดี                          . ขยันทำงาน
๓.  ข้อใด ไม่จัดเป็นวัตถุกาม ?
                . เกมส์             . ล๊อตเตอรี่
                . เพลง                             . ความรัก
๔.  ข้อใด จัดเป็นธัมมปฏิสันถาร ?
                . ต้อนรับตามฐานะ          . นำน้ำดื่มมาให้
                . ให้หนังสือธรรมะ          . ถามถึงธุระที่มา
๕. ผู้ถูกวิหิงสาวิตกครอบงำ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
                . ฝักใฝ่ในกาม    . ปองร้ายผู้อื่น
                . โลภอยากได้    . ทรมานสัตว์
๕. ไฟในข้อใด ทำให้คนหลงผิดเห็นกงจักรเป็นดอกบัว
                . ไฟคือราคะ                  . ไฟคือโทสะ
                . ไฟคือโมหะ                . ไฟคือตัณหา
๖. การปกครองระบอบประชาธิปไตย สงเคราะห์เข้าในข้อใด ?
                . อัตตาธิปเตยยะ                . โลกาธิปเตยยะ
                . ธัมมาธิปเตยยะ               . อนาธิปเตยยะ
๗. ข้อใด ไม่จัดเป็นตัณหา ?
                ก. อยากมีบ้านใหม่             ข. อยากให้คนนับถือ
                ค. อยากอยู่คนเดียว             ง. อยากรักษาโรคร้าย
๘. ผู้ตกเป็นเหยื่อของมิจฉาชีพ ซึ่งมาในรูปแบบต่างๆ เพราะ
                . เกิดความโลภ  . ขาดปัญญา
                . ข่มใจไว้ไม่ได้                 . เชื่อคนง่าย
. พระอภิธรรมปิฎก ว่าด้วยเรื่องอะไร ?
                ก. แสดงระเบียบปฏิบัติ ข. แสดงบุคคลาธิษฐาน
                ค. แสดงธรรมาธิษฐาน ง. แสดงอิทธิปาฏิหารย์
๑๐. ข้อใด ไม่ใช่โลกัตถจริยา ?
                ก. ตรวจดูสัตว์โลก               ข. โปรดเวไนยสัตว์
                ค. ตอบปัญหาเทวดา           ง. โปรดพุทธบิดา

วัดแก้วมงคล ปัญหาธรรมศึกษา

.  ผู้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะมีธรรมอะไร ?
                ก. ธรรมมีอุปการะมาก      ข. ธรรมอันทำให้งาม
                ค. ธรรมเป็นโลกบาล         ง. ธรรมเป็นเครื่องเจริญ
. ถ้าสติเปรียบเหมือนดวงไฟ สัมปชัญญะจะเปรียบเหมือนอะไร ?
                . ควันไฟ                          . แสงไฟ
                . คนจุดไฟ                       . เชื้อไฟ
.  คนมีโอตตัปปะมีลักษณะเช่นไร ?
                . กลัวถูกลงโทษ                . กลัวเสียชื่อเสียง
             . กลัวตกนรก                 . ถูกทุกข้อ
.  ความงามอะไร ไม่ขึ้นอยู่กับกาลเวลา ?
                ก. งามเสื้อผ้าอาภรณ์          ข. งามรูปร่างหน้าตา
                ค. งามกิริยามารยาท           ง. งามคุณธรรม
. บุพพการี ชื่อว่าหาได้ยาก เพราะถูกอะไรครอบงำ ?
                . ความไม่รู้                     . ความตระหนี่
                . ความโกรธ                   . ตัณหา
. ที่เรียกว่าพระพุทธศาสนานั้น หมายถึงอะไร ? 
                . พระรัตนตรัย   . พระธรรมวินัย
                . ไตรสิกขา                    . พระปาติโมกข์
. คำสอนที่เป็นหลักการในพระพุทธศาสนา ตรงกับข้อใด ?
                . โอวาท ๓                       . สิกขา ๓
                . สุจริต ๓                        . ปิฎก ๓
. คำพูดที่ทำให้ผู้ฟังเจ็บช้ำใจหรือบันดาลโทสะตรงกับข้อใด
                . คำเท็จ                           . คำหยาบ
                . คำส่อเสียด                    . คำเพ้อเจ้อ

กลอนหลวงพ่อพุทธทาส

เขามีส่วน เลวบ้าง ช่างหัวเขา
จงเลือกเอา ส่วนที่ดี เขามีอยู่
เป็นประโยชน์ โลกบ้าง ยังน่าดู
ส่วนที่ชั่ว อย่าไปรู้ ของเขาเลย จะหาคน มีดี โดยส่วนเดียว
อย่ามัวเที่ยว ค้นหา สหายเอ๋ย
เหมือนเที่ยวหา หนวดเต่า ตายเปล่าเลย
ฝึกให้เคย มองแต่ดี มีคุณจริง ฯ

กลอน ๘ วัดแก้วมงคล

กลอน ๘
แล้วสอนว่า  อย่าไว้  ใจมนุษย์    (วรรคที่หนึ่ง)
มันแสนสุด  ลึกล้ำ  เหลือกำหนด  (สัมผัส คำที่สาม มนุษย์ กับสุด)
ถึงเถาวัลย์  พันเกี่ยว  ที่เลี้ยวลด    (สัมผัสคำสุดท้ายวรรคสอง กับสุดท้ายวรรคสาม หนด กับลด)
ก็ไม่คด  เหมือนหนึ่งใน  น้ำใจคน   (คำสุดท้ายวรรคสาม กับคำที่สาม วรรคสี่)
ไม่เมาเหล้า  แล้วแต่เรา  ยังเมารัก
สุดจะหัก  ห้ามจิตร  คิดไฉน
ถึงเมาเหล้า  เช้าสาย  ก็หายไป
แต่เมาใจ  นี้ประจำ  ทุกค่ำคืน

ถึงบางพูด  พูดดี  เป็นศรีศักดิ์
มีคนรัก  รสถ้อย  อร่อยจิต
แม้นพูดชั่ว  ตัวตาย  ทำลายมิตร
จะชอบผิด  ในมนุษย์ เพราะพูดจา..
ถึงโรงเหล้า  เตากลั่น ควันโขมง
มีคันโพง  ผูกสาย  ไว้ปลายเสา
โอ้บาปกรรม  น้ำนรก เจียวอกเรา
ให้มัวเมา  เหมือนหนึ่งบ้า  เป็นน่าอาย.....

บุคคลที่เกิดวันอาทิตย์

บุคคลที่เกิดวันอาทิตย์ สีที่เป็นมงคล ควรเป็นสีชมพู สีโอโรส เพราะเป็นเดช อำนาจ และบารมี สีเขียวเป็นสีแห่งโชคลาภเงินทอง หรือสีดำ สีเทา สีควันบุหรี่เป็นสีของมนตรี มีคนคอยช่วยเหลือ ผู้ใหญ่สนับสนุนดี
* สีอื่นๆไม่ดีและไม่เสีย (ธรรมดา) สีที่ต้องห้าม คือ สีฟ้า สีน้ำเงิน (เป็นสีที่อัปมงคลตลอดชีวิต) เพราะเป็นสีที่เป็นกาลกินีของบุคคลที่เกิดวันอาทิตย์
นอกจากนี้แล้ว บุคคลที่เกิดวันวันอาทิตย์
* อายุย่าง 23
, 32 , 41 , 50 , 59 , 68และอายุ 77 ปีห้ามซื้อรถสีชมพู สีโอโรส เพราะเป็นสีที่โชคร้ายในช่วงอายุที่ย่างมาถึง
* สำหรับช่วงอายุย่าง 24
, 33 , 42 ,51 ,60 ,
และ 69 สีที่ห้ามซื้อคือสีเขียวทุกชนิด
* และช่วงอายุย่าง 18
, 27 , 36 ,45 ,54 ,
63 และ 72ปี สีที่ห้ามซื้อคือ สีดำ สีเทา สีควันบุหรี่ เพราะเป็นสีที่โชคร้าย ในช่วงอายุที่มาถึงเช่นกัน
* ถ้าไม่ใช่อายุจรที่ย่างมาถึงดังกล่าวข้างต้นก็สามารถเลือกซื้อสีที่เป็นมงคลได้ตลอด

งานปิดทองฝังลูกนิมิตวัดแก้วมงคล คาถาอิติปิโสแปดทิศ

คาถาอิติปิโสแปดทิศ ฯ ชื่อกระทู้เจ็ดแบก               ด้านบูรพา
ฯ ชื่อฝนแสนห่า                     ด้านอาคเนย์
ฯ ชื่อนารายณ์กลืนสมุทร      ด้านทักษิณ
ฯ ชื่อนารายณ์พลิกแผ่นดิน   ด้านหรดี
ฯ ชื่อตวาดหิมพาน                ด้านประจิม
ฯ ชื่อนารายณ์กลืนจักร         ด้านพายัพ
ฯ ชื่อนารายณ์แปลงรูป         ด้านอุดร
ฯ ชื่อนารายณ์ถอดรูป           ด้านอีสาน

งานปิดทองฝังลูกนิมิตวัดแก้วมงคล คำอารรธนาศีล ๕

มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมปิ    มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ตะติยัมปิ  มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ                 (นะโม 3 จบ)
พุทธัง      สะระณัง   คัจฉามิ
ธัมมัง      สะระณัง   คัจฉามิ
สังฆัง      สะระณัง   คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง   สะระณัง   คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง   สะระณัง   คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง   สะระณัง   คัจฉามิ
ตะติยัมปิ                พุทธัง  สะระณัง   คัจฉามิ
ตะติยัมปิ                ธัมมัง  สะระณัง   คัจฉามิ
ตะติยัมปิ                สังฆัง  สะระณัง   คัจฉามิ
พระว่า       ติสะระณะคะมะนัง  นิฏฐิตัง          กล่าวรับว่า  อามะ  ภันเต
ปาณาติปาตา           เวระมณี   สิกขาปะทัง   สะมาทิยามิ
อทินนาทานา   เวระมณี   สิกขาปะทัง   สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมณี  สิกขาปะทัง   สะมาทิยามิ
มุสาวาทา   เวระมณี   สิกขาปะทัง   สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา   เวระมณี   สิกขาปะทัง  สะมาทิยามิ
อิมานิ ปัญจะ  สิกขาปะทานิ  สมาทิยามิ
ลีเลนะ สุคะติง ยันติ                             ลีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ                             ตัสสะมา สีลัง วิโสธะเย

ยะถา วาริวะหา ปูรา                              ปะริปูเรนติ สาคะรัง
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง                           เปตานัง อุปะกัปปะติ
อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง                          ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา                         จันโท ปัณณะระโส ยะถา
มะณิ โชติระโส ยะถา
สัพพีติโย วิวัชชันตุ                               สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภะวัตวันตะราโย                         สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง                 วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ                        อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง